ในอดีตกระต่ายถูกจัดอยู่ใน Order Rodentia ที่เป็นสัตว์ฟันแทะประเภทหนู ปัจจุบันถูกจัดใน Order Lagomorpha เนื่องจากกระต่ายมีฟันตัดหรือฟันแทะ (Incisor) 6 ซี่ ต่างจาก Order Rodentia ทั่วไปที่มี 4 ซี่ โดยฟัน 2 ซี่ ที่เพิ่มขึ้น จะเป็นตุ่มกลมเล็กๆ ไม่ได้ใช้ทำหน้าที่ตัดอาหาร เนื่องจากไม่มีความคม และอยู่ด้านหลังฟันตัดทางด้านบนของขากรรไกร
กระต่ายแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กระต่ายกลุ่ม Hare หรือ กระต่ายป่า
2. กระต่ายกลุ่ม Rabbit หรือ กระต่ายบ้าน (Domestic Rabbit) เป็นกระต่ายที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบัน ชื่อสามัญ European Rabbits/True Rabbits ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์ Oryctolagus cuniculus
1. กระต่ายกลุ่ม Hare หรือ กระต่ายป่า
2. กระต่ายกลุ่ม Rabbit หรือ กระต่ายบ้าน (Domestic Rabbit) เป็นกระต่ายที่นิยมเลี้ยงกันในปัจจุบัน ชื่อสามัญ European Rabbits/True Rabbits ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์ Oryctolagus cuniculus
ลักษณะทั่วไป
1. ปาก
ปากกระต่ายมีขนาดเล็ก ริมฝีปากด้านบนมีร่องแบ่งครึ่งตรงกลาง เรียกว่า ฟิลทรัม (philtrum) ที่เชื่อมอยู่ระหว่างปากกกับจมูก ส่วนฟันกระต่ายมี 2 แบบ คือ ฟันตัด และฟันบดอาหาร ซึ่งฟันตัดจะมีจำนวน 6 ซี่ แต่มีเพียง 4 ซี่ เท่านั้นที่ใช้งาน ส่วนอีก 2 ซี่ จะเป็นตุ่มกลม ไม่ได้ใช้งาน ไม่มีคม มีต่อมน้ำลายด้านข้างสำหรับขับเอนไซม์อะไมเลสสำหรับย่อยแป้ง และน้ำตาล
1. ปาก
ปากกระต่ายมีขนาดเล็ก ริมฝีปากด้านบนมีร่องแบ่งครึ่งตรงกลาง เรียกว่า ฟิลทรัม (philtrum) ที่เชื่อมอยู่ระหว่างปากกกับจมูก ส่วนฟันกระต่ายมี 2 แบบ คือ ฟันตัด และฟันบดอาหาร ซึ่งฟันตัดจะมีจำนวน 6 ซี่ แต่มีเพียง 4 ซี่ เท่านั้นที่ใช้งาน ส่วนอีก 2 ซี่ จะเป็นตุ่มกลม ไม่ได้ใช้งาน ไม่มีคม มีต่อมน้ำลายด้านข้างสำหรับขับเอนไซม์อะไมเลสสำหรับย่อยแป้ง และน้ำตาล
2. หลอดอาหาร
หลอดอาหารมีลักษณะเป็นท่อยาว ขนาดเล็ก อยู่เหนือหลอดลม
หลอดอาหารมีลักษณะเป็นท่อยาว ขนาดเล็ก อยู่เหนือหลอดลม
3. กระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหารมีลักษณะเป็นถุง ส่วนต้นจะใหญ่ และเล็กลงทางด้านท้าย ตอนกลางมีลักษณะโค้ง และมีรูเปิดด้านท้ายเชื่อมไปยังลำไส้เล็ก โดยมีกล้ามเนื้อหูรูดที่แข็งแรงคอยทำหน้าที่ควบคุมการไหลของอาหารเข้าสู่ลำไส้เล็ก
กระเพาะอาหารมีลักษณะเป็นถุง ส่วนต้นจะใหญ่ และเล็กลงทางด้านท้าย ตอนกลางมีลักษณะโค้ง และมีรูเปิดด้านท้ายเชื่อมไปยังลำไส้เล็ก โดยมีกล้ามเนื้อหูรูดที่แข็งแรงคอยทำหน้าที่ควบคุมการไหลของอาหารเข้าสู่ลำไส้เล็ก
4. ลำไส้เล็ก
ลำไส้เล็กมีรลักษณะเป็นท้อยาวขนาดเล็ก ยาวทอดลงมาที่ช่องท้อง ด้านในของลำไส้มีลักษณะนุ่มคล้ายกำมะหยี่ที่ประกอบด้วย villi จำนวนมาก โดยลำไส้เล็กแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
– ดูโอดีนัม (duodenum) เป็นส่วนต้นของลำไส้ มีลักษณะเป็นห่วง ที่มีแผ่นเยื่อขึงรับ บนแผ่นเยื่อมีตับอ่อน และท่อน้ำดี ส่งผ่านท่อจากถุงน้ำดี และตับอ่อนเข้าสู่ส่วนต้นของดูโอดีนัม
ลำไส้เล็กมีรลักษณะเป็นท้อยาวขนาดเล็ก ยาวทอดลงมาที่ช่องท้อง ด้านในของลำไส้มีลักษณะนุ่มคล้ายกำมะหยี่ที่ประกอบด้วย villi จำนวนมาก โดยลำไส้เล็กแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
– ดูโอดีนัม (duodenum) เป็นส่วนต้นของลำไส้ มีลักษณะเป็นห่วง ที่มีแผ่นเยื่อขึงรับ บนแผ่นเยื่อมีตับอ่อน และท่อน้ำดี ส่งผ่านท่อจากถุงน้ำดี และตับอ่อนเข้าสู่ส่วนต้นของดูโอดีนัม
– เจจูนัม (jejunum) และไอเลียม (ilium) เป็นสองส่วนสุดท้ายที่อยู่ด้านท้าย มีลักษณะเป็นถุงกลม มีผนังหนา เรียกว่า succurus rotundus และมีต่อมน้ำเหลืองด้านใน บริเวณนี้ทำหน้าที่ทำลายจุลินทรีย์ และดูดซึมไขมัน
5. ไส้ตัน และไส้ติ่ง
ไส้ตันจะเชื่อมต่อกับ succurus rotundus บริเวณส่วนต่อระหว่างลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ต่อกัน มีขนาดยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ผนังด้านในของไส้ตันมีลักษณะเรียบ ภายในมีเมือกข้นที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์จำพวกแบคทีเรียจำนวนมากสำหรับการย่อยเซลลูโลส ถัดมาที่ปลายสุดของไส้ตัน เรียกว่า ไส้ติ่ง มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ด้านในประกอบด้วยต่อมน้ำเหลือง
ไส้ตันจะเชื่อมต่อกับ succurus rotundus บริเวณส่วนต่อระหว่างลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ต่อกัน มีขนาดยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ผนังด้านในของไส้ตันมีลักษณะเรียบ ภายในมีเมือกข้นที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์จำพวกแบคทีเรียจำนวนมากสำหรับการย่อยเซลลูโลส ถัดมาที่ปลายสุดของไส้ตัน เรียกว่า ไส้ติ่ง มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ด้านในประกอบด้วยต่อมน้ำเหลือง
6. ลำไส้ใหญ่
ลำไส้ใหญ่แบ้งออกเป็น 2 ส่วน คือ ลำไส้ใหญ่ส่วนต้น (colon) มีความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร และลำไส่ใหญ่ส่วนปลาย (rectum) มีความยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ตอนท้ายเปิดออกสู่ช่องทวารหนัก
ลำไส้ใหญ่แบ้งออกเป็น 2 ส่วน คือ ลำไส้ใหญ่ส่วนต้น (colon) มีความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร และลำไส่ใหญ่ส่วนปลาย (rectum) มีความยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ตอนท้ายเปิดออกสู่ช่องทวารหนัก
พันธุ์กระต่ายในไทย
1. กระต่ายพื้นเมือง
เป็นกระต่ายที่เลี้ยงตามพื้นบ้านทั่วไป ยังไม่ทราบแน่ชัดว่ามาจากสายพันธุ์ใด มักพบมีหลายสี แต่แบ่งได้ 2 ชนิด คือ กระต่ายพันธุ์พื้นบ้านสีขาว และพันธุ์สีอื่น เช่น สีดำ สีเทา สีน้ำตาล เป็นต้น
1. กระต่ายพื้นเมือง
เป็นกระต่ายที่เลี้ยงตามพื้นบ้านทั่วไป ยังไม่ทราบแน่ชัดว่ามาจากสายพันธุ์ใด มักพบมีหลายสี แต่แบ่งได้ 2 ชนิด คือ กระต่ายพันธุ์พื้นบ้านสีขาว และพันธุ์สีอื่น เช่น สีดำ สีเทา สีน้ำตาล เป็นต้น
2. พันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์ (New Zealand White)
เป็นกระต่ายขนาดกลาง มีขนสีขาวปกคลุมทั้งตัว ตาสีแดง มีรูปร่างเป็นเหลี่ยม ลำตัวยาวปานกลาง มีเนื้อเต็มทั้งสันหลัง และสะโพก
เป็นกระต่ายขนาดกลาง มีขนสีขาวปกคลุมทั้งตัว ตาสีแดง มีรูปร่างเป็นเหลี่ยม ลำตัวยาวปานกลาง มีเนื้อเต็มทั้งสันหลัง และสะโพก
3. พันธุ์แคลิฟอร์เนียน (Californian)
เป็นกระต่ายขนาดกลาง ตามีสีชมพู ลำตัวมีขนสีขาวปกคลุมทั้งตัว ยกเว้นบริเวณใบหู จมูก เท้า และหางจะมีสีดำ สะโพกใหญ่ มีเนื้อมาก
เป็นกระต่ายขนาดกลาง ตามีสีชมพู ลำตัวมีขนสีขาวปกคลุมทั้งตัว ยกเว้นบริเวณใบหู จมูก เท้า และหางจะมีสีดำ สะโพกใหญ่ มีเนื้อมาก
4. พันธุ์สแตนดาร์ด ชินซิลล่า (Standard chinchilla)
เป็นกระต่ายที่มีลำตัวขนาดเล็ก มีขนปกคลุมสีเทา เลี้ยงง่าย โตเร็ว ออกลูกถี่ และให้ลูกดก
เป็นกระต่ายที่มีลำตัวขนาดเล็ก มีขนปกคลุมสีเทา เลี้ยงง่าย โตเร็ว ออกลูกถี่ และให้ลูกดก
5. พันธุ์ดัชท์ (Ducth)
เป็นกระต่ายที่เลี้ยงเพื่อความสวยงามเป็นหลัก เนื่องจากมีขนาดเล็ก สั้น ส่วนท้ายกลมใหญ่ มีขนหลายสี เช่น สีขาว ดำ เทา น้ำเงิน เป็นต้น โดยมีส่วนใบหน้า คอ อก ขาหน้า และปลายเท้าจะมีสีขาว ให้ลูกถี่ และออกลูกดก
เป็นกระต่ายที่เลี้ยงเพื่อความสวยงามเป็นหลัก เนื่องจากมีขนาดเล็ก สั้น ส่วนท้ายกลมใหญ่ มีขนหลายสี เช่น สีขาว ดำ เทา น้ำเงิน เป็นต้น โดยมีส่วนใบหน้า คอ อก ขาหน้า และปลายเท้าจะมีสีขาว ให้ลูกถี่ และออกลูกดก
6. พันธุ์ซิคคา เซท (Zika-Z)
เป็นกระต่ายพันธุ์ใหม่ของประเทศเยอรมัน มีตาสีชมพู มีขนสั้นสีขาว ลำตัวยาว ไหล่ และสันหลังกว้าง สะโพกใหญ่ มีเนื้อมาก ให้ลูกดก
เป็นกระต่ายพันธุ์ใหม่ของประเทศเยอรมัน มีตาสีชมพู มีขนสั้นสีขาว ลำตัวยาว ไหล่ และสันหลังกว้าง สะโพกใหญ่ มีเนื้อมาก ให้ลูกดก
7. พันธุ์แองกอล่า (Angora)
เป็นพันธุ์กระต่ายที่สามารถทำรายได้ทั้งการซื้อขายขน และเนื้อ เนื่องจากให้ขนยาวคล้ายเส้นไหม และเนื้อที่มีคุณภาพสูง ลักษณะลำตัวกลม เนื้อเต็มทุกส่วน
เป็นพันธุ์กระต่ายที่สามารถทำรายได้ทั้งการซื้อขายขน และเนื้อ เนื่องจากให้ขนยาวคล้ายเส้นไหม และเนื้อที่มีคุณภาพสูง ลักษณะลำตัวกลม เนื้อเต็มทุกส่วน
8. พันธุ์ผสม
เป็นพันธุ์ที่มีการพัฒนาให้มีจุดเด่นในลักษณะต่างๆเพื่อจุดประสงค์ทางด้านความสวยงาม และการให้เนื้อ
เป็นพันธุ์ที่มีการพัฒนาให้มีจุดเด่นในลักษณะต่างๆเพื่อจุดประสงค์ทางด้านความสวยงาม และการให้เนื้อ
ที่มา : สมศักดิ์, 2528.(1)
ประโยชน์ และข้อดีของกระต่าย
1. กระต่ายเป็นสัตว์ที่มีอัตราการให้เนื้อสูงเมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์เศรษฐกิจชนิดอื่น ให้ลูกต่อครอกจำนวนมาก เฉลี่ย 8 ตัว/ครอก ให้ลูกได้ถึง 10 – 11 ครอก/ปี การตั้งท้องสั้น ประมาณ 1 เดือน และผสมพันธุ์ใหม่ได้เพียงไม่กี่วันหลังคลอด
2. เนื้อกระต่ายให้รสชาติ และคุณภาพดี มีมัดกล้ามเนื้อขนาดเล็ก เนื้อมีโปรตีนสูง ไขมันต่ำ สามารถนำไปปรุงอาหารได้ทุกประเภท
1. กระต่ายเป็นสัตว์ที่มีอัตราการให้เนื้อสูงเมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์เศรษฐกิจชนิดอื่น ให้ลูกต่อครอกจำนวนมาก เฉลี่ย 8 ตัว/ครอก ให้ลูกได้ถึง 10 – 11 ครอก/ปี การตั้งท้องสั้น ประมาณ 1 เดือน และผสมพันธุ์ใหม่ได้เพียงไม่กี่วันหลังคลอด
2. เนื้อกระต่ายให้รสชาติ และคุณภาพดี มีมัดกล้ามเนื้อขนาดเล็ก เนื้อมีโปรตีนสูง ไขมันต่ำ สามารถนำไปปรุงอาหารได้ทุกประเภท
คุณค่าทางอาหารของเนื้อกระต่าย (100 กรัม)
– น้ำ 75 กรัม
– โปรตีน 22.4 กรัม
– ไขมัน 1.4 กรัม
– พลังงาน 102 กิโลแคลอรี่
– คอเลสเตอรอล 48 มิลลิกรัม
– เหล็ก 1.13 มิลลิกรัม
– โซเดียม 37 มิลลิกรัม
– น้ำ 75 กรัม
– โปรตีน 22.4 กรัม
– ไขมัน 1.4 กรัม
– พลังงาน 102 กิโลแคลอรี่
– คอเลสเตอรอล 48 มิลลิกรัม
– เหล็ก 1.13 มิลลิกรัม
– โซเดียม 37 มิลลิกรัม
3. กระต่ายสามารถให้หนัง และขนที่มีคุณภาพสูง หนัง และขนนำไปทำเครื่องนุ่งห่ม สิ่งประดิษฐ์ สิ่งทอ และเครื่องใช้ต่างๆ
4. กระต่ายเลี้ยงง่าย ต้นทุนต่ำ กินอาหารไม่เลือก อาหารสามารถหาได้ตาท้องถิ่น เช่น หญ้า ผักบุ้ง ผักกาด เป็นต้น
5. กระต่ายมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อสูง ทำให้ใช้อาหารน้อยในการเลี้ยง
6. กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็ก ใช้พื้นที่น้อย เชื่อง และไม่ดุร้าย
7. มูลกระต่ายมีอินทรีย์วัตถุ และธาตุอาหารสูง สามารถใช้เป็นปุ๋ยแก่ต้นพืชได้เป็นอย่างดี
8. กระต่ายใช้เป็นสัตว์ทดลองในทางการการแพทย์ เนื่องจากมีความเชื่อง และไม่ดุร้าย
9. กระต่ายมีขนปุกปุย และมีหลายสีสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความสวยงาม และหากมีลักษณะเด่นที่สวยงาม สามารถเลี้ยงเพื่อจำหน่ายได้ในราคาที่สูง
4. กระต่ายเลี้ยงง่าย ต้นทุนต่ำ กินอาหารไม่เลือก อาหารสามารถหาได้ตาท้องถิ่น เช่น หญ้า ผักบุ้ง ผักกาด เป็นต้น
5. กระต่ายมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อสูง ทำให้ใช้อาหารน้อยในการเลี้ยง
6. กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็ก ใช้พื้นที่น้อย เชื่อง และไม่ดุร้าย
7. มูลกระต่ายมีอินทรีย์วัตถุ และธาตุอาหารสูง สามารถใช้เป็นปุ๋ยแก่ต้นพืชได้เป็นอย่างดี
8. กระต่ายใช้เป็นสัตว์ทดลองในทางการการแพทย์ เนื่องจากมีความเชื่อง และไม่ดุร้าย
9. กระต่ายมีขนปุกปุย และมีหลายสีสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความสวยงาม และหากมีลักษณะเด่นที่สวยงาม สามารถเลี้ยงเพื่อจำหน่ายได้ในราคาที่สูง
วงจรการผลิตกระต่าย
– กระต่ายมีอายุเฉลี่ยประมาณ 5 ปี
– อายุที่พร้อมในการผสมพันธุ์ คือ ประมาณ 5 – 7 เดือน
– กระต่ายเพศเมียมีวงรอบการเป็นสัด 16 – 18 วัน ช่วงการยอมรับผสมพันธุ์ 12 – 14 วัน
– การอุ้มท้องประมาณ 29 – 35 วัน แต่เฉลี่ยที่ประมาณ 31 วัน
– แม่กระต่ายใช้เวลาเลี้ยงลูก 4 – 8 สัปดาห์ หลังจากนั้น 2 – 7 วัน จึงจะสามารถผสมพันธุ์ใหม่ได้ – ลูกกระต่ายเกิดใหม่จะไม่มีขนปกคลุม มีลักษณะหูตีบ ไม่ลืมตาจนหลังจาก 10 วัน จึงจะมีขนขึ้นปกคลุม และสามารถลืมตาได้
– เมื่อกระต่ายอายุ 15-20 วัน จะสามารถเดินออกจากรัง และเริ่มกินอาหารได้
– ลูกกระต่ายหย่านมเมื่ออายุ 4 – 8 สัปดาห์ หลังจากนั้น สามารถนำไปเลี้ยงขุนได้
– กระต่ายมีอายุเฉลี่ยประมาณ 5 ปี
– อายุที่พร้อมในการผสมพันธุ์ คือ ประมาณ 5 – 7 เดือน
– กระต่ายเพศเมียมีวงรอบการเป็นสัด 16 – 18 วัน ช่วงการยอมรับผสมพันธุ์ 12 – 14 วัน
– การอุ้มท้องประมาณ 29 – 35 วัน แต่เฉลี่ยที่ประมาณ 31 วัน
– แม่กระต่ายใช้เวลาเลี้ยงลูก 4 – 8 สัปดาห์ หลังจากนั้น 2 – 7 วัน จึงจะสามารถผสมพันธุ์ใหม่ได้ – ลูกกระต่ายเกิดใหม่จะไม่มีขนปกคลุม มีลักษณะหูตีบ ไม่ลืมตาจนหลังจาก 10 วัน จึงจะมีขนขึ้นปกคลุม และสามารถลืมตาได้
– เมื่อกระต่ายอายุ 15-20 วัน จะสามารถเดินออกจากรัง และเริ่มกินอาหารได้
– ลูกกระต่ายหย่านมเมื่ออายุ 4 – 8 สัปดาห์ หลังจากนั้น สามารถนำไปเลี้ยงขุนได้
อาหารกระต่าย
กระต่ายเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยวเหมือนมนุษย์ที่ต้องใช้เอนไซม์ และจุลินทรีย์บางชนิดสำหรับย่อยอาหาร มีกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ไส้ตัน และไส้ตัน โดยทั่วไปตามธรรมชาติกระต่ายจะกินพืชต่างๆเป็นอาหารหลัก เช่น หญ้า และผักต่างๆ รวมถึงมีพฤติกรรมกินมูลของตัวเองเป็นอาหาร จึงทำให้กระต่ายเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย เนื่องจากอาหารที่ใช้เลี้ยงสามารถหาได้ตามท้องถิ่นโดยไม่ต้องหาซื้อหรือหากชื้อก็มีราคาไม่แพงนัก ทั้งนี้ อาจให้อาหารข้นเสริมด้วยสำหรับการเลี้ยงเพื่อค้าขาย โดยอาหารกระต่ายแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
กระต่ายเป็นสัตว์กระเพาะเดี่ยวเหมือนมนุษย์ที่ต้องใช้เอนไซม์ และจุลินทรีย์บางชนิดสำหรับย่อยอาหาร มีกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ไส้ตัน และไส้ตัน โดยทั่วไปตามธรรมชาติกระต่ายจะกินพืชต่างๆเป็นอาหารหลัก เช่น หญ้า และผักต่างๆ รวมถึงมีพฤติกรรมกินมูลของตัวเองเป็นอาหาร จึงทำให้กระต่ายเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย เนื่องจากอาหารที่ใช้เลี้ยงสามารถหาได้ตามท้องถิ่นโดยไม่ต้องหาซื้อหรือหากชื้อก็มีราคาไม่แพงนัก ทั้งนี้ อาจให้อาหารข้นเสริมด้วยสำหรับการเลี้ยงเพื่อค้าขาย โดยอาหารกระต่ายแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. อาหารหยาบ
อาหารหยาบ เป็นอาหารที่มีเยื่อใยสูง มีสารอาหารต่อหน่วยน้ำหนักน้อย ได้แก่ หญ้า และพืชผักชนิดต่างๆ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาหารหยาบสด ได้แก่ หญ้า ผัก และพืชหมัก และอาหารหยาบแห้ง ได้แก่ หญ้าแห้ง และพืชแห้งต่าง ๆ
อาหารหยาบ เป็นอาหารที่มีเยื่อใยสูง มีสารอาหารต่อหน่วยน้ำหนักน้อย ได้แก่ หญ้า และพืชผักชนิดต่างๆ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาหารหยาบสด ได้แก่ หญ้า ผัก และพืชหมัก และอาหารหยาบแห้ง ได้แก่ หญ้าแห้ง และพืชแห้งต่าง ๆ
คุณค่าทางอาหารของหญ้าเนเปียร์ (เปอร์เซ็นต์ วัตถุแห้ง)
ส่วนประกอบ เนเปียร์ เนเปียร์แคระ เนเปียร์ยักษ์
1. วัตถุแห้ง (dry matter)
– เนเปียร์ 19.55%
– เนเปียร์แคระ 20.20%
– เนเปียร์ยักษ์ 24.32%
ส่วนประกอบ เนเปียร์ เนเปียร์แคระ เนเปียร์ยักษ์
1. วัตถุแห้ง (dry matter)
– เนเปียร์ 19.55%
– เนเปียร์แคระ 20.20%
– เนเปียร์ยักษ์ 24.32%
2. โปรตีน (crude protein)
– เนเปียร์ 10.11%
– เนเปียร์แคระ 12.14%
– เนเปียร์ยักษ์ 10.80%
– เนเปียร์ 10.11%
– เนเปียร์แคระ 12.14%
– เนเปียร์ยักษ์ 10.80%
3. เยื่อใยหยาบ (crude fiber)
– เนเปียร์ 25.51%
– เนเปียร์แคระ 26.19%
– เนเปียร์ยักษ์ 28.62%
– เนเปียร์ 25.51%
– เนเปียร์แคระ 26.19%
– เนเปียร์ยักษ์ 28.62%
4. ไขมัน (ether extract)
– เนเปียร์ 1.97%
– เนเปียร์แคระ 1.84%
– เนเปียร์ยักษ์ 1.93%
– เนเปียร์ 1.97%
– เนเปียร์แคระ 1.84%
– เนเปียร์ยักษ์ 1.93%
5. เถ้า (ash)
– เนเปียร์ 19.00%
– เนเปียร์แคระ 17.92%
– เนเปียร์ยักษ์ 14.90%
– เนเปียร์ 19.00%
– เนเปียร์แคระ 17.92%
– เนเปียร์ยักษ์ 14.90%
6. Nitrogen free extract
– เนเปียร์ 30.25%
– เนเปียร์แคระ 31.58%
– เนเปียร์ยักษ์ 33.29%
– เนเปียร์ 30.25%
– เนเปียร์แคระ 31.58%
– เนเปียร์ยักษ์ 33.29%
7. เยื่อใยที่ละลายในกรด (acid detergent fiber)
– เนเปียร์ 40.88%
– เนเปียร์แคระ 39.81%
– เนเปียร์ยักษ์ 40.37%
– เนเปียร์ 40.88%
– เนเปียร์แคระ 39.81%
– เนเปียร์ยักษ์ 40.37%
8. เยื่อใยที่ละลายในด่าง (nutral detergent fiber)
– เนเปียร์ 61.34%
– เนเปียร์แคระ 59.95%
– เนเปียร์ยักษ์ 61.21%
– เนเปียร์ 61.34%
– เนเปียร์แคระ 59.95%
– เนเปียร์ยักษ์ 61.21%
9. ลิกนิน
– เนเปียร์ 3.11%
– เนเปียร์แคระ 3.54%
– เนเปียร์ยักษ์ 3.66%
– เนเปียร์ 3.11%
– เนเปียร์แคระ 3.54%
– เนเปียร์ยักษ์ 3.66%
10. เฮมิ-เซลลูโลส
– เนเปียร์ 20.36%
– เนเปียร์แคระ 20.13%
– เนเปียร์ยักษ์21.9%
– เนเปียร์ 20.36%
– เนเปียร์แคระ 20.13%
– เนเปียร์ยักษ์21.9%
11. เซลลูโลส
– เนเปียร์ 27.74%
– เนเปียร์แคระ 28.21%
– เนเปียร์ยักษ์29.59%
– เนเปียร์ 27.74%
– เนเปียร์แคระ 28.21%
– เนเปียร์ยักษ์29.59%
2. อาหารข้น (Concentrate) เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารต่อหน่วยสูง ทั้งพลังงาน โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุในปริมาณที่สูง เป็นอาหารที่เกิดจากการนำส่วนผสมของวัตถุดิบที่มีสารอาหารสูงมารวมกัน ได้แก่ อาหารผสมของรำข้าว ข้าวโพด ปลาป่น เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น